พ.ศ. 2534
สู่เทคโนโลยีนำสมัย เปิดให้สัมปทานโทรศัพท์สาธารณะแบบใช้บัตร (CARDPHONE) ในเขตนครหลวง ติดตั้ง
สถานีดาวเทียมภาคพื้นดิน เพื่อใช้เป็นโครงข่ายโทรคมนาคมสำรอง เปิดให้บริการสื่อสารข้อมูลเพื่อธุรกิจผ่าน
ดาวเทียม (ISBN) เพื่อรับ - ส่งข้อมูลระหว่าง คอมพิวเตอร์ โทรสาร โทรศัพท์ และอื่น ๆวางระบบเคเบิลใยแก้ว
นำแสงใต้น้ำในอ่าวไทย ระยะทาง 1,300 กิโลเมตร ใช้เป็น โครงข่ายพัฒนาระบบโทรคมนาคมการติดต่อสื่อสาร
ทางภาคใต้ของประเทศ เปิดโครงข่ายเคเบิลใยแก้วนำแสงตามเส้นทางรถไฟสายหลักของประเทศ 3 สาย คือ
สายเหนือ สายตะวันออกเฉียงเหนือ และสายใต้ รองรับความต้องการใช้โทรศัพท์ทางไกล ในเขตภูมิภาคและ
นครหลวง เปิดบริการประชุมทางไกลผ่านจอภาพ (TELECONFERENCE)
พ.ศ. 2535
- ขยายบริการโทรศัพท์ 3 ล้านเลขหมาย ขยายบริการโครงการโทรศัพท์ 3 ล้านเลขหมาย สำหรับเขตนครหลวง 2 ล้านเลขหมาย และภูมิภาค 1 ล้านเลขหมาย
- เปิดให้บริการวิทยุสื่อสารเคลื่อนที่เฉพาะกลุ่มธุรกิจ (TRUNK MOBILE RADIO)
พ.ศ. 2536
ความก้าวหน้าของบริการ และโครงการใหญ่
- เปิดให้บริการโทรศัพท์สาธารณะทางไกลต่างประเทศชนิดหยอดเหรียญ
[INTERNATIONAL SUBSCRIBER DIALING COIN PHONE : ISD]
- เปิดให้บริการสื่อสารร่วมระบบดิจิตัล (ISDN) เปิดบริการระบบข้อมูลธุรกิจ (VIDEOTEX)
- เปิดให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่สาธารณะแบบใช้บัตรบนรถโดยสารปรับอากาศรุ่นใหม่ (ใช้ก๊าซธรรมชาติ NGV) โดยต่อเชื่อมโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ 470 MHz เข้ากับ Card Phone
พ.ศ. 2537
ส่งเสริมคุณภาพบริการเปิดให้บริการโทรศัพท์ในโครงการพัฒนากิจการโทรคมนาคมในพื้นที่เศรษฐกิจเฉพาะ
แหลมฉบัง จ.ชลบุรี และมาบตาพุต จ.ระยอง (TELEPORT)เปิดบริการโทรศัพท์ทางไกลระหว่างประเทศอัตโนมัติ
ไทย - ลาว เปิดให้บริการโทรศัพท์ติดตามตัวรายที่ 3 ในชื่อ "WORLD PAGE"
พ.ศ. 2538
ส่งเสริมคุณภาพบริการปีที่สอง จัดวางเคเบิลใยแก้วนำแสง ส่งสัญญาณโทรทัศน์จากโรงเรียนวังไกลกังวล อ.หัว
หินจ.ประจวบคีรีขันธ์ ไปยังสถานีดาวเทียมไทยคม จ.นนทบุรี เพื่อลดช่องว่างทางการศึกษา และพัฒนาเยาวชน
พ.ศ. 2539
22 เม.ย.เปิดให้บริการโทรศัพท์รหัสส่วนตัว PIN PHONE 108 ในเขตนครหลวง
ทดลองขยายพื้นที่ให้บริการ PIN PHONE ไปยังจังหวัดต่าง ๆ
พ.ศ. 2540
|
ปรับเปลี่ยนโทรศัพท์ระบบครอสบาร์ (แบบหมุน) เป็นระบบเอสพีซี (แบบกดปุ่ม) ทั้งหมด
พ.ศ. 2541
- มกราคม เปิดให้บริการโฮมคันทรีไดเร็ค (Home Country Direct : HCDS) ระหว่างไทยและมาเลเซีย
ด้วยรหัส1800-8000-66
- ธันวาคมเปิดให้บริการโทรศัพท์สาธารณะแบบใช้ TOT CARD ระยะแรกติดตั้งในเขต นครหลวง และภูมิภาคบางส่วน รวมทั้งให้บริการในการแข่งขันกีฬาเอเชี่ยนเกมส์ ครั้ง 13
พ.ศ. 2542
- 29 เม.ย. เปิดให้บริการข้อมูลด้วยเสียงทางโทรศัพท์ (Audiotex) ด้วยรหัส 1900 XXX XXX กับ บริษัท
อินโฟเทล คอมมูนิเคชั่น (ประเทศไทย) จำกัด
- 18 ส.ค. บริษัทไทยออดิโอเท็กซ์ เซอร์วิส จำกัด
- 29 ส.ค. บริษัทสามารถ อินโฟมีเดีย จำกัด
- กันยายนเปิดให้บริการโทรฟรีระหว่างประเทศ IFS (International Freephone Service)
ด้วยรหัส 1800+80+เลขหมาย IFS
- 15 พ.ย. เปิดให้บริการโทรศัพท์พื้นฐานใช้นอกสถานที่ PCT ร่วมกับ TA อย่างเป็นทางการ
- 19 พ.ย. เปิดให้บริการโทรศัพท์ทางไกลระหว่างประเทศอัตโนมัติ ไทย-พม่า
- 17 ธ.ค. เปิดให้บริการโทรศัพท์ทางไกลระหว่างประเทศอัตโนมัติ ไทย-กัมพูชา
พ.ศ. 2543
- 14 ม.ค. เปิดให้บริการอินเตอร์เน็ตสาธารณะที่จังหวัดเชียงใหม่เป็นครั้งแรก เพื่อให้ประชาชนทั่วประเทศ
มีโอกาสใช้เครือข่ายอินเทอร์เน็ตอย่างเท่าเทียมและทั่วถึง ในอัตราครั้งละ 3 บาท
- 27 เม.ย. ปรับปรุงอัตราค่าบริการเพื่อลดภาระค่าใช้จ่ายให้กับประชาชนรูปแบบใหม่ 3 รูปแบบ
- 1 พ.ค. - ปรับปรุงอัตราค่าบริการโทรศัพท์สาธารณะทางไกลภายในประเทศ
เป็นอัตรา 3,6,9,12,12,12 บาท/นาที
- ลดค่าเช่าบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ 470 MHz จากอัตรา 450 บาท/เดือน
เป็นอัตรา 300 บาท/เดือน
- ปรับปรุงอัตราค่าบริการโทรศัพท์ PIN PHONE 108 โทรในท้องถิ่น 3 นาที/ บาทโทรทางไกล
ภายในประเทศอัตรา 3,6,9,12,12,12 บาท/นาท
- ส.ค.เปิดบริการโฮมคันทรีไดเร็ค โทรจากประเทศไทยไปมาเลซีย (1800-0060-99 ,
1800-0060-88) โทรไปสิงค์โปร์ (1800-0065-99) โทรไปไต้หวัน (1800-0886-10)
- 12 ตุลาคมเปิดให้บริการโทรศัพท์ทางไกลราคาประหยัด Y-tel 1234
- ธ.คขยายการให้บริการโฮมคันทรีไดเร็ค จากประเทศไทยไปสหรัฐอเมริกา ด้วยรหัส
(1800-0001-20) และญี่ปุ่น ด้วยรหัส (1800-0081-10)
- 1 ธ.คทศท.รับบริการเวิลด์เพจ (Worldpage) 141, 142 ,143 มาดำเนินการเอง
พ.ศ. 2544
- 5 ก.ค เพิ่มเลขหมายโทรศัพท์ทั่วประเทศ (Numbering Plan) จากเลขหมาย 7 หลัก เป็นเลขหมาย 8 หลัก (กดรหัสพื้นที่ตามด้วยหมายเลขเดิม) พร้อมเปลี่ยนหมายเลข แจ้งเหตุเสียจาก 17 เป็น "1177"
- ก.คเปิดให้บริการ โฮมคันทรีไดเร็ค (HCDS) จากประเทศไทยไปประเทศเกาหลี ด้วยรหัส (1800-0082-20)
- 20 ก.ค.เปิดให้บริการ Family Card หรือบริการบัตรรหัสโทรศัพท์สำหรับผู้ต้องขัง
พ.ศ. 2545
?- 1 ม.ค. เปิดให้บริการ TOT online "1222" ในอัตรา 3 บาท ทั่วประเทศ
-6 ก.พ เปิดให้บริการ e-learning การเรียนการสอนทางไกลผ่านอินเทอร์เน็ต
- 25 มี.ค.เปิดให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ 1900 MHz THAI MOBILE เป็นการดำเนินการร่วมระหว่าง กสท. และ ทศท
- 17 พ.ค. ให้บริการอุปกรณ์สื่อสารโทรคมนาคมระหว่างกรมอุตุนิยมวิทยากับ ทศท
- 29 พ.ค. PIN Phone 108 สามารถใช้บริการ AUDIOTEX ได้
- 31 ก.ค. แปลงสภาพเป็น บริษัท ทศท คอร์ปอเรชั่น จำกัด มหาชน (TOT Corporation Public CompanyLimited)
- 9 ส.ค. เปิดให้บริการ TOT POSTPAID บริการบัตรรหัสโทรศัพท์ และบริการ PRIVATE NET บริการโครงข่ายเฉพาะกลุ่ม บนโครงข่าย IN
- 12 ก.ย. เปิดให้บริการ BOARDBAND-ISDN บริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง
พ.ศ. 2544
- 5 ก.ค เพิ่มเลขหมายโทรศัพท์ทั่วประเทศ (Numbering Plan) จากเลขหมาย 7 หลัก เป็นเลขหมาย 8 หลัก(กดรหัสพื้นที่ตามด้วยหมายเลขเดิม) พร้อมเปลี่ยนหมายเลข แจ้งเหตุเสียจาก 17 เป็น "1177"
- ก.ค.เปิดให้บริการ โฮมคันทรีไดเร็ค (HCDS) จากประเทศไทยไปประเทศเกาหลี ด้วยรหัส (1800-0082-20)
- 20 ก.ค.เปิดให้บริการ Family Card หรือบริการบัตรรหัสโทรศัพท์สำหรับผู้ต้องขัง
พ.ศ. 2545
- 1 ม.ค. เปิดให้บริการ TOT online "1222" ในอัตรา 3 บาท ทั่วประเทศ
- 6 ก.พเปิดให้บริการ e-learning การเรียนการสอนทางไกลผ่านอินเทอร์เน็ต
- 25 มี.ค.เปิดให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ 1900 MHz THAI MOBILE เป็นการดำเนินการร่วมระหว่าง กสท. และ ทศท
- 17 พ.ค. ให้บริการอุปกรณ์สื่อสารโทรคมนาคมระหว่างกรมอุตุนิยมวิทยากับ ทศท
- 29 พ.ค. PIN Phone 108 สามารถใช้บริการ AUDIOTEX ได้
- 31 ก.ค. แปลงสภาพเป็น บริษัท ทศท คอร์ปอเรชั่น จำกัด มหาชน (TOT Corporation Public CompanyLimited)
บริษัท ทศท คอร์ปอเรชั่น จำกัด มหาชน (TOT Corporation Public CompanyLimited)
- 9 ส.ค. เปิดให้บริการ TOT POSTPAID บริการบัตรรหัสโทรศัพท์ และบริการ PRIVATE NET บริการ
โครงข่ายเฉพาะกลุ่ม บนโครงข่าย IN
- 12 ก.ย. เปิดให้บริการ BOARDBAND-ISDN บริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง
|