- การเดินทางของราษฎรโดยเส้นทางปกติที่นิยมใช้ถึงที่ว่าการอำเภอเป็นระยะทาง 23 กิโลเมตร ถึงศาลากลางจังหวัดเป็นระยะทาง 22 กิโลเมตร
- จำนวนครัวเรือนทั้งสิ้น 335 ครัวเรือน
- จำนวนราษฎรทั้งสิ้น 1,340 คน เป็นชาย 635 คน หญิง 705 คน
- พื้นที่ทั้งสิ้น 6,268 ไร่
- การทำการเกษตร มี 180 ครัวเรือน
- เนื้อที่ทำการเกษตร มี 1,800 ไร่
แหล่งน้ำที่ใช้ประโยชน์
- ฝาย ผนังกั้นน้ำ มี 2 แห่ง จำนวนครัวเรือนที่ได้รับประโยชน์ 200 ครัวเรือน
- อ่างเก็บน้ำ มี 1 แห่ง จำนวนครัวเรือนที่ได้รับประโยชน์ 330 ครัวเรือน
- เหมือง มี 2 แห่ง จำนวนครัวเรือนที่ได้รับประโยชน์ 335 ครัวเรือน
- บ่อบาดาล บ่อตอก บ่อเจาะ(ที่ใช้การได้) มี 21 แห่ง จำนวนครัวเรือนที่ได้รับประโยชน์ 21 ครัวเรือน
- บ่อน้ำตื้น(ที่ใช้การได้) มี 29 แห่ง จำนวนครัวเรือนที่ได้รับประโยชน์ 40 ครัวเรือน
- สระน้ำ(ขนาด 100 ตารางวาขึ้นไป) มี 26 แห่ง จำนวนครัวเรือนที่ได้รับประโยชน์ 26
ครัวเรือน
- แม่น้ำ ลำคลอง มี 1 แห่ง
- ไฟฟ้า มี จำนวนครัวเรือน 320 ครัวเรือน ก๊าซหุงต้ม 385 ครัวเรือน
อาชีพหลักที่สำคัญของราษฎรในหมู่บ้าน
ลำดับที่ 1 ทำนาข้าว 108 ครัวเรือน
ลำดับที่ 2 รับจ้างทั่วไป 93 ครัวเรือน
ลำดับที่ 3 ค้าขาย 54 ครัวเรือน
สถานบริการด้านการศึกษา
- โรงเรียนระดับอนุบาล มี 1 แห่ง
ศาสนสถาน
- สำนักสงฆ์ มี 1 แห่ง
โทรศัพท์
- โทรศัพท์บ้าน 18 เครื่องไม่มีโทรศัพท์สาธารณะ
แหล่งน้ำที่ใช้ประโยชน์ในการเกษตร
- บ่อบาดาล บ่อตอก บ่อเจาะ(ที่ใช้การได้) มี 21 แห่ง จำนวนครัวเรือนที่ได้รับประโยชน์ 21 ครัวเรือน
- บ่อน้ำตื้น(ที่ใช้การได้) มี 29 แห่ง จำนวนครัวเรือนที่ได้รับประโยชน์ 40 ครัวเรือน
- สระน้ำ(ขนาด 100 ตารางวาขึ้นไป) มี 26 แห่ง จำนวนครัวเรือนที่ได้รับประโยชน์ 26
ครัวเรือน
- แม่น้ำ ลำคลอง มี 1 แห่ง จำนวนครัวเรือนที่ได้รับประโยชน์ ทั้ง 3 หมู่บ้าน
- ฝาย พนังกั้นน้ำ มี 2 แห่ง จำนวนครัวเรือนที่ได้รับประโยชน์ 200 ครัวเรือน
- อ่างเก็บน้ำ มี 1 แห่ง จำนวนครัวเรือนที่ได้รับประโยชน์ 300 ครัวเรือน
- เหมือง มี 2 แห่ง จำนวนครัวเรือนที่ได้รับประโยชน์ 300 ครัวเรือน
- รอใช้น้ำฝนเพียงอย่างเดียวในการทำการเกษตรจำนวน 80 ครัวเรือน
การปลูกพืชไร่ที่สำคัญ
ลำดับที่ 1 มันสำปะหลัง จำนวนครัวเรือนที่ปลูก 10 ครัวเรือน เนื้อที่ปลูก 50 ไร่
ลำดับที่ 2 แตงกวาไทย จำนวนครัวเรือนที่ปลูก 12 ครัวเรือน เนื้อที่ปลูก 20 ไร่
ลำดับที่ 3 มะเขือ จำนวนครัวเรือนที่ปลูก 12 ครัวเรือน เนื้อที่ปลูก 20 ไร่
การปลูกพืชผักและสมุนไพรที่ปลูกมากที่สุด
- ข่า ตะไคร้ จำนวนครัวเรือนที่ปลูก 311 ครัวเรือน
การปลูกพืชยืนต้น ไม้ผล และสวนป่าที่สำคัญ
ลำดับที่ 1 มะม่วง จำนวนครัวเรือนที่ปลูก 21 ครัวเรือน จำนวนเนื้อที่ที่ปลูก 50 ไร่
ลำดับที่ 2 ส้มเขียวหวาน จำนวนครัวเรือนที่ปลูก 16 ครัวเรือน จำนวนเนื้อที่ที่ปลูก35 ไร่
ลำดับที่ 3 ฝรั่ง จำนวนครัวเรือนที่ปลูก 15 ครัวเรือน จำนวนเนื้อที่ที่ปลูก 33 ไร่
การเลี้ยงสัตว์
- วัวเนื้อ จำนวนครัวเรือนที่เลี้ยง 2 ครัวเรือน จำนวน 48 ตัว
อุตสาหกรรม
- มีโรงสีข้าวขนาดใหญ่ สีข้าวได้วันละมากกว่า 20 เกวียน
ด้านการค้าส่ง ค้าปลีก และบริการ
- สถานีอนามัย มี 1 แห่ง
- มีที่ทำ การไปรษณีย์โทรเลข 1 แห่ง
-ร้านค้าที่ทำการค้าปลีกเป็นหลัก มี จำนวน 6 แห่ง
-ร้านรับซ่อมเครื่องจักรกลการเกษตร มี จำนวน 1 แห่ง
ความเดือดร้อนของราษฎร
ลำดับที่ 1 ปุ๋ย/ยาราคาแพง
ลำดับที่ 2 ไม่มีที่ดินทำกิน
ลำดับที่ 3 แห้งแล้ง
ลำดับที่ 4 ขาดแคลนทุนในการประกอบอาชีพ
ลำดับที่ 5 ผลผลิตราคาตกต่ำ
|