|
|
คำอธิบายรายวิชา
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
1. จำนวนและการดำเนินการ
1.1สมบัติจำนวนนับ
-การหาห.ร.ม.ของจำนวนนับ
-การหาค.ร.น.ของจำนวนนับ
-การแก้ปัญหาโดยใช้ ห.ร.ม.และค.ร.น.
1.2 จำนวนเต็ม
-จำนวนเต็มบวก จำนวนเต็มลบ และจำนวนเต็มศูนย์
-การเปรียบเทียบจำนวนเต็ม
-การบวก ลบ คูณ และหาร จำนวนเต็ม
-สมบัติของจำนวนเต็มและการนำไปใช้
1.3เศษส่วนและทศนิยม
-การเขียนเศษส่วนด้วยทศนิยมและเขียนทศนิยมซ้ำเป็นเศษส่วน
-การเปรียบเทียบเศษส่วนและทศนิยม
-การบวก ลบ คูณ หารและเศษส่วนทศนิยม
-โจทย์ปัญหาหรือสถานการณ์เกี่ยวกับเศษส่วนทศนิยม
1.4 เลขยกกำลัง
-ความหมายของเลขยกกำลัง
-การเขียนแสดงจำนวนในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์
-การคูณและหารเลขยกกำลังที่มีฐานเดียวกันและเลขชี้กำลังที่มีฐานเดียวกันและเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
1.5 การประมาณค่า
-การประมาณค่าในสถานการณ์ต่างๆ
-การแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้การประมาณค่า
2. การวัด
3.เรขาคณิต
3.1 พื้นฐานทางเรขาคณิต
-การสร้างรูปเรขาคณิตโดยในวงเวียนและเส้นตรง
-การสร้างรูปเรขาคณิตอย่างง่ายโดยใช้การสร้างพื้ฐาน
-การสำรวจสมบัติทางเรขาคณิต
3.2ความสำพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ
-ภาพของรูปเรขาคณิตสองมิติที่เกิดจากการครี่รูปเรขาคณิตสามมิติ
-ภาพสองมิติที่ได้จากการมองทางด้านหน้า ด้านข้าง หรือด้านบน ของรูปเรขาคณิตสามมิติ
-การวาดหรือประดิษฐ์รูปเรขาคณิตที่ประกอบขึ้นจากลูกบาศก์
4.พีชคณิต
4.1สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
-แบบรูปและความสัมพันธ์
-คำตอบของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
-การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวโดยใช้สมบัติของการเท่ากัน
-โจทย์สมการเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
4.2 คู่อันดับและกราฟ
-คู่อันดับ
-กราฟ
-การนำไปใช้
5. การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
6. ทักษะ/กระบวนการ
6.1 กิจกรรมเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ผ่านสาระการเรียนรู้จำนวนเรขาคณิต และพีชคณิต
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
1.จำนวนและการดำเนินการ
1.1อัตราส่วนและร้อยละ
-อัตราส่วน
- สัดส่วน
-ร้อยละ
-การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนและร้อยละ
1.2ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
-จำนวนตรรกยะ
-จำนวนอตรรกยะ
-รากที่สอง
-รากที่สาม
2.การวัด
2.1 การวัด
- หน่วยความยาว พื้นที่
-การแก้ปัญหาหรือสถานการณ์ในชีวิตประจำวันโดยใช้ความรู้ เกี่ยวกับพื้นที่
- การคาดคะเน
3.เรขาคณิต
3.1 ความเท่ากันทุกประการ
-ความเท่ากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยม
-รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่สัมพันธ์กันแบบด้าน- มุม- ด้าน
-รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่สัมพันธ์กันแบบมุม- ด้าน- มุม
-รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่สัมพันธ์กันแบบด้าน- ด้าน- ด้าน
3.2 เส้นขนาน
-สมบัติของเส้นขนาน
-รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่สัมพันธ์กันแบบมุม- มุม- ด้าน
3.3 การแปรงทางเรขาคณิต
-การเลื่อนแกน
-การสะท้อน
-การหมุน
3.4 ทฤษฎีบิทากอรัส
-ทฤษฎีบิทากอรัส
-การแก้ปัญหาโดยใช้ทฤษฎีบิทากอรัส
4. พีชคณิต
4.1 การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
-การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
-การแก้โจทย์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
5.การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
5.1 แผนภูมิรูปวงกลม
-การอ่านแผนภูมิรูปวงกลม
-การเขียนแผนภูมิรูปวงกลม
6.ทักษะ/กระบวนการ
6.1 กิจกรรรมเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ผ่านการเรียนรู้จำนวนการวัด เรขาคณิต พีชคณิต และการวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
1.จำนวนและการดำเนินการ
2.การวัด
2.1ปริมาตรและพื้นที่ผิว
-การหาพื้นที่ผิวและประมาตรของปริซึม
-การหาพื้นที่ผิวและปริมาตรของทรงกระบอก
-การหาปริมาตรของพีระมิด กรวย และทรงกลม
-การเปรียบเทียบหน่วยปริมาตร
-การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับพื้นที่ผิวและปริมาตร
3. เรขาคณิต
3.1 ความคล้าย
-รูปที่คล้ายกัน
-รูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน
-สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน
-การนำไปใช้
4.พีชคณิต
4.1 เอกนามและพหุนาม
-เอกนาม
-การบวก ลบ คูณ หาร เอกนาม
- พหุนาม
-การบวก ลบ คูณ หาร พหุนาม
4.2 อสมการ
-คำตอบและกราฟแสดงคำตอบอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
-การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
-การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
4.3 กราฟ
-กราฟเส้นตรง
-กราฟเส้นตรงกับการนำไปใช้
-กราฟอื่นๆ
4.4ระบบสมการเชิงเส้น
-สมการเชิงเส้นสองตัวแปร
-กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
-ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
-การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
-การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
5. การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
5.1 สถิติ
-การกำหนดประเด็นการเขียนข้อคำถามรวมข้อมูล
-การนำเสนอข้อมูล
-การหาค่ากลางของข้อมูล การกำหนดวิธีการศึกษา และการเก็บรวบรวมข้อมูล
-การเลือกใช้ค่ากลางของข้อมูล
-การอ่าน การแปลความหมาย และการวิเคราะห์ข้อมูล
-การใช้ข้อมูลสาระสนเทศ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6
1. จำนวนและการดำเนินการ
1.1 ระบบจำนวนจริง
-จำนวนจริง
-การเท่ากัน การบวก การลบ การคูณ และการหาร ในระบบจำนวนจริง
-สมบัติของระบบจำนวนจริง
-สมบัติการไม่เท่ากัน
-ค่าสัมบูรณ์
1.2 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น
-สมบัติของจำนวนเต็ม
1.3 จำนวนเชิงซ้อน
-จำนวนเชิงซ้อน
-กราฟและค่าสัมบูรณ์ของจำนวนเชิงซ้อน
-จำนวนเชิงซ้อนในรูปเชิงขั้ว
2.การวัด
3.เรขาคณิต
3.1เรขาคณิตวิเคราะห์
-เส้นตรง
-ภาคตัดกรวย
3.2 เวกเตอร์ในสามมิติ
-เวกเตอร์
-การบวก และการลบเวกเตอร์
-การคูณเวกเตอร์ด้วยสเกลาร์
-ผลคุณเชิงสเกลาร์
-ผลคูณเชิงเวกเตอร์
4.พีชคณิต
4.1 ตรรกศาสตร์เบื้องต้น
-ประพจน์
-การเชื่อมประพจน์และการหาค่าความจริงของประพจน์
-การสร้างตารางค่าความจริง
-การอ้างเหตุผล
4.2 สมการและอสมการ
-การแก้สมการพหุนามตัวแปรเดียว
-ช่วงและการแก้สมการ
-สมการพหุนาม
4.3 ฟังก์ชัน
-ฟังก์ชันคอมโพสิท
-ฟังก์ชันอินเวอร์ส
-พีชคณิตของฟังก์ชัน
4.4ฟังก์เอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
-ฟังก์ชันเอกโพเนนเชียล
-ฟังก์ชันลอการิทึม
4.5 ฟังก์ชันตรีโกณมิติและการประยุกต์
-ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
-กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
-การแก้สมการตรีโกณมิติ
4.6เมทริกซ์ และดีเทอร์มินันต์
-เมทริกซ์และสมบัติของเมทริกซ์
-ดีเทอร์มินันต์
-การใช้เมทริกซ์แก้ระบบสมการเชิงเส้น
4.7 กำหนดการเชิงเส้น
- กราฟของอสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
-การสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์เพื่อหาคำตอบของปัญหา
5.การวิเคราะห์ข้อมูลความน่าจะเป็น
5.1การวิเคราะห์เบื้องต้นโดยใช้ค่ากลางและการวัดการกระจายของข้อมูล
5.2การแจกแจงปกติ
-ค่ามาตรฐาน
-การแจกแจงปกติและเส้นโค้งปกติ
-พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติ
5.3ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล
-แผนภาพการกระจาย
-ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันของข้อมูลที่ประกอบด้วยสองตัวแปร
-ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันของข้อมูลที่อยู่ในรูปอนุกรมเวลา
5.4ความน่าจะเป็น
-กฎเบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ
-แฟคทอเรียลn
-วิธีเรียงสับเปลี่ยน
-วิธีจัดหมู่
-ทฤษฎีบทวินาม
-ความน่าจะเป็นและกฎที่สำคัญบางประการของความน่าจะเป็น
6. แคลคูลัส
6.1 ลำดับและอนุกรมอนันต์
-ลิมิตของลำดับ
-ผลบวกของอนุกรมอนันต์
6.2แคลคูลัสเบื้องต้น
-ลิมิตของฟังก์ชัน
-ความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
-อนุพันธ์ของฟังก์ชัน
-ความชันของเส้นโค้ง
-การหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันพีชคณิตโดยใช้สูตร
-อนุพันธ์อันดับสูง
-การประยุกต์อนุพันธ์
-ปริพันธ์
-พื้นที่ปิดล้อมด้วยเส้นโค้ง
7. วิยุติคณิต
7.1 กราฟเบื้องต้น
-กราฟ
-กราฟออยเลอร์
-การประยุกต์ของกราฟ
8. ทักษะ/กระบวนการ
-กิจกรรมเสริมสร้างทักษะกระบวนทางคณิตศาสตร์
|
|
|